วันศุกร์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2556

บทที่ 4 เครือข่ายและการสื่อสาร

 เครือข่ายและการสื่อสาร

1. ระบบเครือข่ายคืออะไร
 ระบบเครือข่ายคือการนำคอมพิวเตอร์จำนวนตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไปมาเชื่อมโยง กันเพื่อให้ง่ายต่อการติดต่อสื่อสาร เรียกว่า คอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก (computer network)

2. การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีประโยชน์อย่างไร
 เพื่อใช้ติดต่อสื่อสารกันในโลกออนไลน์และเป็นช่องทางที่รับ-ส่งข้อมูลได้รวดเร็วมีผู้คนใช้มากและมีการอัพเดตข้อมูลอยู่ตลอดเวลา

3. องค์ประกอบพื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูลมีอะไรบ้าง
 1. ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล (Sender) 2. ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver) 3. โปรโตคอล (Protocol)  4. ซอฟต์แวร์ (Software) 5. ข่าวสาร (Message) 6. ตัวกลาง (Medium)

4. สัญญาณที่ใช้ในระบบการสื่อสารแบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
 2 ประเภท ได้แก่ 1. การส่งสัญญาณแบบอนาลอก (Analog Transmission) 2. การส่งสัญญาณแบบดิจิตอล (Digital Transmission)

5. การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาดมีวิธีการอย่างไร
'การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน ทำได้โดยการส่งข้อมูลออกทีละ 1 ไบต์ หรือ 8 บิตจากอุปกรณ์ส่งไปยังอุปกรณ์รับ อุปกรณ์ตัวกลางระหว่างสองเครื่องจึงต้องมีช่องทางให้ข้อมูลเดินทางอย่างน้อย 8 ช่องทาง เพื่อให้กระแสไฟฟ้าผ่านโดยมากจะเป็นสายสัญญาณแบบขนาน ระยะทางของสายสัญญาณแบบขนานระหว่างสองเครื่องไม่ควรยาวเกิน 100 ฟุต เพราะอาจทำให้เกิดปัญหาสัญญาณสูญหายไปกับความต้านทานของสาย นอกจากนี้อาจมีปัญหาที่เกิดจากระดับไฟฟ้าสายดินที่จุดรับผิดไปจากจุดส่ง ทำให้เกิดการผิดพลาดในการรับสัญญาณทางฝ่ายรับ

6. รูปแบบการรับ - ส่งข้อมูล มีอะไรบ้างให้อธิบายพร้อมยกตัวอย่าง
1.รับส่งข้อมูลทิศทางเดียว (Simplex Line) เป็นการรับส่งข้อมูลได้ทิศทางเดียว ช่องทางสื่อสารทำหน้าที่รับหรือส่งข้อมูล ได้เพียงอย่างเดียว เช่นช่องทางการส่งข้อมูลจาก ซีพียูไปยังเครื่องพิมพ์ หรือจากซีพียูไปยังจอภาพ เป็นต้น 2. รับส่งข้อมูลสองทางโดยสลับเวลารับส่ง (Half-Duplex Line) เป็นการรับส่งข้อมูลได้สองทิศทาง แต่ต้องสลับเวลาในการรับส่งข้อมูล จะส่งและรับในเวลาเดียวกันไม่ได้ เช่น การรับส่งข้อมูลวิทยุ ผู้รับและผู้ส่งต้องสลับกัน ส่งสัญญาณการรับส่งข้อมูลระหว่าง เครื่องสถานีปลายทางไปยังหน่วยประมวลผล เป็นต้น
3. รับส่งข้อมูลสองทางในเวลาเดียวกัน (Full -Duplex Line) เป็นการรับส่งข้อมูลได้สองทิศทาง ในเวลาเดียวกัน เช่น ช่องทางการสื่อสารของโทรศัพท์ ผู้รับและผู้ส่งสามารถพูดโต้ตอบกันได้ในเวลาเดียวกัน ช่องทางการสื่อสารแบบนี้นิยมใช้กันอย่างกว้างขวางในปัจจุบันนี้

7. การส่งสัญญาณข้อมูลผ่านสายไฟเบอร์ออปติกมีข้อแตกต่างจากสายชนิดอื่นอย่างไร
 สายส่งแบบไฟเบอร์ออฟติก (Fiber Optic)
เป็นการส่งสัญญาณด้วยใยแก้ว และส่งสัญญาณด้วยแสงมีความเร็วในการส่งข้อมูลสูงสามารถส่งข้อมูลได้ด้วยเร็ว เท่ากับแสง ไม่มีสัญญาณรบกวนจากภายนอก

8. ยกตัวอย่างการสื่อสารแบบไร้สาย ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
 การใช้โทรศัพท์มือถือในการสื่อสารในชีวิตประจำวัน
9. เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท ธิบายพร้อมยกตัวอย่าง
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งแยกตามสภาพการเชื่อมโยงได้ 2 ชนิด
- เครือข่ายแลน (Local Area Network : LAN)
- เครือข่ายแวน (Wide Area Network : WAN)

10. ลักษณะของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่แบ่งตามบทบาทของคอมพิวเตอร์ทีกี่แบบ อะไรบ้าง
 การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับการใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกับเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถของระบบให้สูงขึ้น เพิ่มการใช้งานด้านต่าง ๆ และลดต้นทุนระบบโดยรวมลง มีการแบ่งใช้งานอุปกรณ์และข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนสามารถทำงานร่วมกันได้ สิ่งสำคัญที่ทำให้ระบบข้อมูลมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น คือ การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกัน และการเชื่อมต่อหรือการสื่อสาร การโอนย้ายข้อมูลหมายถึงการนำข้อมูลมาแบ่งกันใช้งาน หรือการนำข้อมูลไปใช้ประมวลผลในลักษณะแบ่งกันใช้ทรัพยากร เช่น แบ่งกันใช้ซีพียู แบ่งกันใช้ฮาร์ดดิสก์ แบ่งกันใช้โปรแกรม และแบ่งกันใช้อุปกรณ์อื่น ๆ ที่มีราคาแพงหรือไม่สามารถจัดหาให้ทุกคนได้ การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายจึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งาน ให้กว้างขวางและมากขึ้นจากเดิม


 


บทที่ 3 ซอฟแวร์


ซอฟแวร์

ความหมายของซอฟต์แวร์

       การใช้งานระบบสารสนเทศด้วยคอมพิวเตอร์ จำเป็นต้องมีซอฟต์แวร์ควบคุมการทำงาน เช่น การซื้อของโดยใช้บัตรเครดิต ผู้ขายจะตรวจสอบบัตรเครดิตโดยใช้เครื่องอ่านบัตร แล้วส่งข้อมูลของบัตรเครดิตไปยังศูนย์ข้อมูลของบริษัทผู้ออกบัตร การตรวจสอบจะกระทำกับฐานข้อมูลกลาง โดยมีกลไกหรือเงื่อนไขของการตรวจสอบ จากนั้นจึงให้คำตอบว่าจะยอมรับหรือปฏิเสธบัตรเครดิตใบนั้น การดำเนินการเหล่านี้เป็นไปโดยอัตโนมัติตามคำสั่งซอฟต์แวร์
       ทำนองเดียวกันเมื่อซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า พนักงานเก็บเงินจะใช้เครื่องกราดตรวจอ่านรหัสแท่งบนสินค้าทำให้บนจอภาพปรากฏชื่อสินค้า รหัสสินค้า และราคา ในการดำเนินการนี้ต้องใช้ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งสำคัญที่ทำให้ระบบคอมพิวเตอร์ทำงานได้
      ซอฟต์แวร์ คือ ชุดคำสั่งที่สั่งงานคอมพิวเตอร์เป็นลำดับขั้นตอนของการทำงาน ชุดคำสั่งเหล่านี้ได้จัดเตรียมไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์อ่านชุดคำสั่งแล้วทำงานตาม ซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งที่มนุษย์จัดทำขึ้น และคอมพิวเตอร์จะทำงานตามคุณลักษณะของซอฟต์แวร์ที่วางไว้แล้วเท่านั้น
       ชนิดของซอฟต์แวร์แบ่งเป็นสองประเภทใหญ่ คือ ซอฟต์แวร์ระบบ (system software) และซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software)

ชนิดของซอฟแวร์

  ในบรรดาซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีผู้พัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานกับคอมพิวเตอร์มีมากมาย ซอฟต์แวร์
เหล่านี้อาจได้รับ การพัฒนาโดยผู้ใช้งานเอง หรือผู้พัฒนาระบบ หรือผู้ผลิตจำหน่าย หากแบ่งแยกชนิด
ของซอฟต์แวร์ตามสภาพการทำงานพอแบ่งแยก ซอฟต์แวร์ได้เป็นสองประเภท คือ ซอฟต์แวร์ระบบ (system software) 
และ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software) 
         1. ซอฟต์แวร์ระบบ คือซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบ หน้าที่การทำงานของซอฟต์แวร์ระบบ
คือดำเนินงาน พื้นฐานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระแล้วแปลความหมาย
ให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ นำข้อมูลไปแสดงผล บนจอภาพหรือนำออกไปยังเครื่องพิมพ์ จัดการข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูล
บนหน่วยความจำรองเมื่อเราเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ทันที่มีการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
์จะทำงานตามโปรแกรมทันที โปรแกรมแรกที่สั่งคอมพิวเตอร์ทำงานนี้ เป็นซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ระบบอาจเก็บไว้
ในรอม หรือในแผ่นจานแม่เหล็ก หากไม่มีซอฟต์แวร์ระบบ คอมพิวเตอร์จะทำงานไม่ได้ ซอฟต์แวร์ระบบยังใช้เป็นเครื่องมือ
ในการพัฒนาซอฟต์แวร์อื่น ๆ และยังรวมไปถึงซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาต่าง ๆ ซอฟต์แวร์ระบบที่นิยมแพร่หลาย ได้แก่ 
DOS, UNIX, WINDOWS, SUN, OS/2, NET WARE เป็นต้น 
        2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ ที่สามารถนำมา
ใช้ประโยชน์ได้โดยตรง ปัจจุบันมีผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ใช้งานทางด้านต่าง ๆ ออกจำหน่ายมาก การประยุกต์งานคอมพิวเตอร์
์จึงกว้างขวางและแพร่หลาย เราอาจแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกเป็นสองกลุ่มคือ ซอฟต์แวร์สำเร็จ และซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้น
ใช้งานเฉพาะ ซอฟต์แวร์สำเร็จในปัจจุบัน มีมากมาย เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำ ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน
ฯลฯ 


ข้อควรคำนึงถึงในการใช้ซอฟแวร์

คำว่า "การเชื่อมโยงกัน" ถูกใช้ในความหมายที่หมายถึง “อินเตอร์เนท” วิธีการใช้ระบบซอฟท์แวร์แบบ Cloud Computing คือ การประมวลผลบนพื้นฐานของอินเตอร์เนท วิธีการใช้ระบบซอฟท์แวร์แบบ Cloud Computing เป็นเทคโนโลยีที่ใช้อินเตอร์เนทและเซอร์เวอร์ (Server) กลางที่เข้าถึงได้จากระยะไกลเพื่อรักษาข้อมูลและโปรแกรมการใช้งาน ทั้งนี้ วิธีการใช้ระบบซอฟท์แวร์แบบ Cloud Computing ทำให้ลูกค้าและธุรกิจสามารถใช้โปรแกรมการใช้งานได้โดยไม่ต้องติดตั้งโปรแกรม และสามารถเข้าถึงระบบได้ผ่านอินเตอร์เนทจากสถานที่ใดก็ได้ เทคโนโลยีนี้ทำให้การประมวลผลทำได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นด้วยการเก็บข้อมูลด้วยการมีคลังข้อมูลกลาง หน่วยความจำ การดำเนินการและความเร็วข้อมูล
วิธีการใช้ระบบซอฟท์แวร์แบบ Cloud Computing สามารถแบ่งออกได้เป็นสามส่วน ได้แก่ ส่วนการใช้งาน ระบบปฏิบัติการ และโครงสร้างพื้นฐาน โดยส่วนการใช้งานถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ซอฟแวร์เป็นการบริการ หรือ ระบบซอฟท์แวร์แบบ SaaS (Software as a Service) ซึ่งเป็นก้าวใหม่ของการบริการส่งเทคโนโลยี เป็นปรากฎการณ์ที่กำลังเติบโตในโลกของธุรกิจในทุกวันนี้ ทั้งนี้ เนื่องจาก บริษัทต่างตระหนักว่ามีผลประโยชน์มากมายที่ได้จากแนวคิดของนวัตกรรมวิธีการใช้ระบบซอฟท์แวร์แบบ Cloud Computing นี้ ทั้งนี้ ไม่ต้องเกี่ยวข้องกับอุปกรณ์และซอฟแวร์เนื่องจากผู้ให้บริการจะเป็นผู้ติดตั้ง ทดสอบ และบำรุงรักษาระบบ จะมีการตรวจสอบการใช้งานในแต่ละสัปดาห์โดยไม่ให้ระยะเวลานานเป็นเดือนหรือปี ท่านทำเพียงการจ่ายค่าบริการรายเดือนในอัตราที่ตายตัว จากนั้นท่านจะสามารถเข้าถึงการใช้งานและบริการผ่านอินเตอร์เนทได้ ทั้งนี้ ไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมในกรณีที่มีการพัฒนาปรับปรุงระบบ ทำให้ระบบทันสมัย รวดเร็ว และยืดหยุ่นในการใช้งาน ดังนั้น จึงทำให้ผู้ใช้งานปลายทางสามารถใช้งานได้จากระบบอย่างคุ้มค่าการลงทุนมาก
เมื่อเปรียบเทียบกับซอฟแวร์ที่ทำการจัดซื้อแบบทั่วไปแล้ว วิธีการใช้ระบบซอฟท์แวร์แบบ Cloud Computing ทำให้การทำงานเป็นไปอย่างง่ายดาย รวดเร็วขึ้น และธุรกิจสามารถจัดหาบริการดังกล่าวได้เพื่อให้ได้รับประโยชน์จากเทคโนโลยีซึ่งจะทำให้การปฏิบัติงานของสถานประกอบการมีประสิทธิภาพมากขึ้น และทำให้ผู้ใช้งานมีประสบการณ์ที่ดีเยี่ยม

ขอขอบคุณhttp://www.igarment.net/content/th/page 

บทที่ 2 ฮาร์ดแวร์


            ฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทำงาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทำงานแตกต่างกัน
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
http://cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/1-9.JPG

หลักการทำงานคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์ หมายถึง  เครื่องคำนวณ  อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถทำงานคำนวณผลและเปรียบเทียบค่าตามชุดคำสั่งด้วยความเร็วสูงอย่างต่อเนื่องและอัตโนมัติ  พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ได้ให้คำจำกัดความของคอมพิวเตอร์ไว้ค่อนข้างกะทัดรัดว่า  เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เสมือนสมองกล  ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่างๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์
        หรืออาจกล่าวได้ว่า เครื่องคอมพิวเตอร์หมายถึง  เครื่องมือที่ช่วยในการคำนวณและการประมวลผลข้อมูล  จากคุณสมบัตินี้ของเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งไม่ใช่เครื่องคิดเลข  เครื่องคอมพิวเตอร์จึงประกอบด้วยคุณสมบัติ 3 ประการคือ
1.
ความเร็ว  (Speed)  เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้ด้วยความเร็วสูงมาก  ซึ่งหน่วยความเร็วของการทำงานของคอมพิวเตอร์วัดเป็น
    -
มิลลิเซกัน (Millisecond)      ซึ่งเปรียบเทียบความเร็วเท่ากับ 1/1000 วินาที  หรือ http://www.streesmutprakan.ac.th/teacher/techno/WEB%20_JAN/images/image005.gifของวินาที
    -
ไมโครเซกัน (Microsecond) ซึ่งเทียบความเร็วเท่ากับ 1/1,000,000 วินาที    หรือhttp://www.streesmutprakan.ac.th/teacher/techno/WEB%20_JAN/images/image007.gifของวินาที
    -
นาโนเซกัน (Nanosecond)    ซึ่งเปรียบเทียบความเร็วเท่ากับ 1/1,000,000,000 วินาที  หรือhttp://www.streesmutprakan.ac.th/teacher/techno/WEB%20_JAN/images/image009.gifของวินาที
ความเร็วที่ต่างกันนี้ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แต่ละยุค  ซึ่งได้มีการพัฒนาให้เครื่องคอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น  การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ประมวลข้อมูล ได้เร็วในเวลาไม่เกิน 1 วินาที  จะทำให้คอมพิวเตอร์มีบทบาทในการนำมาเป็นเครื่องมือใช้งานอย่างดียิ่ง
2.
หน่วยความจำ (Memory)  เครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบไปด้วยความจำ  ซึ่งสามารถใช้บันทึกและเก็บ
ข้อมูลได้คราวละมากๆ และสามารถเก็บคำสั่ง (Instructions) ต่อๆกันได้ที่เราเรียกว่าโปรแกรม แลนำมาประมวลในคราวเดียวกัน ซึ่งเป็นปัจจัยทำให้คอมพิวเตอร์สามารถทำงานเก็บข้อมูลได้ครั้งละมากๆ เช่น    การสำรวจสำมะโนประชากร  หรือรายงานผลการเลือกตั้งซึ่งทำให้มีการประมวลได้รวดเร็วและถูกต้อง   จากการที่หน่วยความจำสามารถบันทึกโปรแกรมและข้อมูลไว้ในเครื่องได้  ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์มีคุณสมบัติพิเศษ  คือสามารถทำงานได้อย่างอัตโนมัติ   ในกรณีที่มีงานที่ต้องทำซ้ำๆหรือบ่อยครั้งถ้าใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยในการทำงานเหล่านั้นก็จะทำให้เกิดประสิทธิภาพสูงซึ่งจะได้ทั้งความรวดเร็ว  ถูกต้องแม่นยำและประหยัดเนื่องจากการเขียนคำสั่งเพียงครั้งเดียวสามารถทำงานซ้ำๆได้คราวละจำนวนมากๆ 
3.
ความสามารถในการเปรียบเทียบ (Logical)  ในเครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบไปด้วยหน่วยคำนวณและตรรกะซึ่งนอกจากจะสามารถในการคำนวณแล้วยังสามารถใช้ในการเปรียบเทียบซึ่งความสามารถนี้เองที่ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ต่างกับเครื่องคิดเลข และคุณสมบัตินี้ทีทำให้นักคอมพิวเตอร์สร้างโปรแกรมอัตโนมัติขึ้นใช้อย่างกว้างขวาง เช่นการจัดเรียงข้อมูลจำเป็นต้องใช้วิธีการเปรียบเทียบ การทำงานซ้ำๆตามเงื่อนไขที่กำหนด หรือการใช้คอมพิวเตอร์ในกิจการต่างๆซึ่งเกิดขึ้นมากมายในปัจจุบัน และการใช้แรงงานจากคอมพิวเตอร์แทนแรงงานจากมนุษย์ทำให้รวดเร็วถูกต้อง สะดวกและแม่นยำ เป็นการผ่อนแรงมนุษย์ได้เป็นอย่างมาก

หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
1คอมพิวเตอร์ หมายถึง  เครื่องคำนวณ  อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถทำงานคำนวณผลและเปรียบเทียบค่าตามชุดคำสั่งด้วยความเร็วสูงอย่างต่อเนื่องและอัตโนมัติ  พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ได้ให้คำจำกัดความของคอมพิวเตอร์ไว้ค่อนข้างกะทัดรัดว่า  เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เสมือนสมองกล  ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่างๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์
        หรืออาจกล่าวได้ว่า เครื่องคอมพิวเตอร์หมายถึง  เครื่องมือที่ช่วยในการคำนวณและการประมวลผลข้อมูล  จากคุณสมบัตินี้ของเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งไม่ใช่เครื่องคิดเลข  เครื่องคอมพิวเตอร์จึงประกอบด้วยคุณสมบัติ 3 ประการคือ
1.
ความเร็ว  (Speed)  เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้ด้วยความเร็วสูงมาก  ซึ่งหน่วยความเร็วของการทำงานของคอมพิวเตอร์วัดเป็น
    -
มิลลิเซกัน (Millisecond)      ซึ่งเปรียบเทียบความเร็วเท่ากับ 1/1000 วินาที  หรือ http://www.streesmutprakan.ac.th/teacher/techno/WEB%20_JAN/images/image005.gifของวินาที
    -
ไมโครเซกัน (Microsecond) ซึ่งเทียบความเร็วเท่ากับ 1/1,000,000 วินาที    หรือhttp://www.streesmutprakan.ac.th/teacher/techno/WEB%20_JAN/images/image007.gifของวินาที
    -
นาโนเซกัน (Nanosecond)    ซึ่งเปรียบเทียบความเร็วเท่ากับ 1/1,000,000,000 วินาที  หรือhttp://www.streesmutprakan.ac.th/teacher/techno/WEB%20_JAN/images/image009.gifของวินาที
ความเร็วที่ต่างกันนี้ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แต่ละยุค  ซึ่งได้มีการพัฒนาให้เครื่องคอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น  การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ประมวลข้อมูล ได้เร็วในเวลาไม่เกิน 1 วินาที  จะทำให้คอมพิวเตอร์มีบทบาทในการนำมาเป็นเครื่องมือใช้งานอย่างดียิ่ง
2.
หน่วยความจำ (Memory)  เครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบไปด้วยความจำ  ซึ่งสามารถใช้บันทึกและเก็บ
ข้อมูลได้คราวละมากๆ และสามารถเก็บคำสั่ง (Instructions) ต่อๆกันได้ที่เราเรียกว่าโปรแกรม แลนำมาประมวลในคราวเดียวกัน ซึ่งเป็นปัจจัยทำให้คอมพิวเตอร์สามารถทำงานเก็บข้อมูลได้ครั้งละมากๆ เช่น    การสำรวจสำมะโนประชากร  หรือรายงานผลการเลือกตั้งซึ่งทำให้มีการประมวลได้รวดเร็วและถูกต้อง   จากการที่หน่วยความจำสามารถบันทึกโปรแกรมและข้อมูลไว้ในเครื่องได้  ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์มีคุณสมบัติพิเศษ  คือสามารถทำงานได้อย่างอัตโนมัติ   ในกรณีที่มีงานที่ต้องทำซ้ำๆหรือบ่อยครั้งถ้าใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยในการทำงานเหล่านั้นก็จะทำให้เกิดประสิทธิภาพสูงซึ่งจะได้ทั้งความรวดเร็ว  ถูกต้องแม่นยำและประหยัดเนื่องจากการเขียนคำสั่งเพียงครั้งเดียวสามารถทำงานซ้ำๆได้คราวละจำนวนมากๆ 
3.
ความสามารถในการเปรียบเทียบ (Logical)  ในเครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบไปด้วยหน่วยคำนวณและตรรกะซึ่งนอกจากจะสามารถในการคำนวณแล้วยังสามารถใช้ในการเปรียบเทียบซึ่งความสามารถนี้เองที่ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ต่างกับเครื่องคิดเลข และคุณสมบัตินี้ทีทำให้นักคอมพิวเตอร์สร้างโปรแกรมอัตโนมัติขึ้นใช้อย่างกว้างขวาง เช่นการจัดเรียงข้อมูลจำเป็นต้องใช้วิธีการเปรียบเทียบ การทำงานซ้ำๆตามเงื่อนไขที่กำหนด หรือการใช้คอมพิวเตอร์ในกิจการต่างๆซึ่งเกิดขึ้นมากมายในปัจจุบัน และการใช้แรงงานจากคอมพิวเตอร์แทนแรงงานจากมนุษย์ทำให้รวดเร็วถูกต้อง สะดวกและแม่นยำ เป็นการผ่อนแรงมนุษย์ได้เป็นอย่างมาก
ประเภทของคอมพิวเตอร์
http://www.oknation.net/blog/home/user_data/file_data/201209/03/6220368ef.gifลักษณะและประเภทของคอมพิวเตอร์
 1. ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เป็นคอมพิเตอร์ที่มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง มีขนาดของความจำมาก ตั้งอยู่ในห้องที่สามารถปรับอุณหภูมิได้ การใช้งานคอมพิวเตอร์ประเภทนี้มักในงานวิจัย เช่น การวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียม การพยากรณ์อากาศ และงานอื่นๆที่มีการคำนวณซับซ้อน

http://www.oknation.net/blog/home/user_data/file_data/201209/03/62203afd6.jpg

ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์
ที่มา  :  http://www.toptenthailand.com/display.php?id=576


 2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่มีประสิทธิภาพรองลงมาจากซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ท่สามารถเชื่อมโยงกับคอมพิวเตอร์ปลายทางได้จำนวนมาก ทำให้ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้พร้อมกันหลายร้อยคน จึงมักใช้ในองคืกรขนาดใหญ่

http://www.oknation.net/blog/home/user_data/file_data/201209/03/622032351.jpg  

เมนเฟรมคอมพิวเตอร์
ที่มา  :  http://www.thaigoodview.com/node/10190


 3. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดกลางที่มีประสิทธิภาพน้อยกว่าเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ แต่สูงกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ มักพบในองค์กรที่ใช้งานเฉพาะด้าน เช่น ประมวลผลงานบัยชี โดยนำไปเชื่อมต่อกับเครื่องปลายทางได้หลายคน โดยมีการประมวลผลที่อยู่ส่วนกลาง แล้วส่งผลไปที่เครื่องปลายทาง โดยที่เครื่องปลายทางไม่ต้องประมวลผลเอง


http://www.oknation.net/blog/home/user_data/file_data/201209/03/62203a7c1.jpg

มินิคอมพิวเตอร์
ที่มา  :  http://www.tsu.ac.th/cst/course/computer_it/lesson3/lesson3-3.html

 4. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานอย่างแพร่หลาย ทีทั้งคอมพิวตอร์ส่วนบุคคลแบบตั้งโต๊ะ ซึ่งเหมาะกับการทำงานในสำนักงาน สถานศึกษา ที่บ้าน หรือคอมพิวเตอร์แบบพกพาไปในสถานที่ต่างๆได้ เช่น       โน๊ตบุ๊ก เป็นต้น
http://www.oknation.net/blog/home/user_data/file_data/201209/03/622035a29.jpg

คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ                                    คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค 
ที่มา  :  http://www.tsu.ac.th/cst/course/computer_it/lesson3/lesson3-3.html

การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์

1. การดูแลรักษาแป้นพิมพ์ (Keyboard)
- ทำความสะอาดโดยการปัดฝุ่นเป็นประจำ
- ห้ามทำน้ำหกบนแป้นพิมพ์
2.การดูแลรักษาจอภาพ
1. อาจซื้อ filter ช่วยในการกรองแสงเพื่อให้ทำงานได้อย่างสะดวกราบรื่นไม่แสบตาจนเกินไป หรืออาจปรับปุ่มด้านล่างของจอ เพื่อปรับแสงสว่างของจอให้มีความเหมาะสม

2. สามารถทำความสะอาดจอภาพได้โดยการใช้ผ้าชุบน้ำบิดให้แห้ง เช็ดจอภาพให้สะอาด
 

3. หลังจากใช้งานแล้วให้ใช้ผ้าคลุมจอภาพทุกครั้งเพื่อป้องกันฝุ่นละออง
 

4. ไม่ควรเปิดจอภาพทิ้งไว้นานๆโดยที่ไม่มีการใช้งานเลย เพราะจะทำให้จอภาพเสื่อมลงได้ถ้าจำเป็นต้องเปิดจอทิ้งไว้ ควรตั้งโปรแกรม
 Screen Saver เพื่อช่วยรักษาจอภาพ
3.การดูแลรักษาเมาส์ (Mouse)5.การดุแลรักษาเครื่องพิมพ์ (Printer)
- วางเมาส์ไว้ที่แผ่นรองเมาส์ เมื่อใช้งานทุกครั้ง
- ทำความสะอาดบริเวณลูกกลิ้งของเมาส์
- อย่าเคาะเมาส์แรง ๆ กับพื้น
4.การดูแลรักษาตัวเครื่อง (Case)
- ควรให้เครื่องอยู่บริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำ
- อย่าทำน้ำหรืออาหารหกใส่ตัวเครื่อง
- ปิดเครื่องพิมพ์ทุกครั้งหลังจากใช้งาน
- เมื่อกระดาษติดให้ค่อยๆ ดึงกระดาษออกมา
6.การดูแลรักษาแผ่นดิสก์ (Diskette)
- ห้ามนำแผ่นดิสก์ออกจากเครื่องคอมพิวเตอร์ ในขณะที่กำลังอ่านข้อมูล
- ไม่ควรนำแผ่นดิสก์ไปไว้ในที่ที่มีความชื้น หรืออุณภูมิสูง
- ไม่ควรนำแผ่นดิสก์เข้าใกล้กับวัตถุที่ก่อให้เกิดสนามแม่เหล็ก
- ไม่ควรขีดหรือเขียนสิ่งใดลงบนแผ่นดิสก์ ถ้าจะต้องเขียนให้เขียนลงบนป้ายชื่อที่มีไว้สำหรับปิดบนแผ่นดิสก์ 
7.การดูแลรักษาแผ่นซีัดีี (CD)
- ควรเก็บแผ่นซีดีไว้ในกล่อง เพื่อป้องกันฝุ่นละออง
- ไม่ควรขีดเขียนสิ่งใดลงบนแผ่นซีดี เนื่องจากจะทำให้่แผ่นซีดีเกิดรอยขีดขวนและเสียหายใช้งานไม่ได้
- ไม่ควรใช้มือจับบริเวณด้านหน้าของแผ่นซีดี
- ไม่ควรงอแผ่นซีดี อาจจะทำให้แผ่นซีดีมีโอกาสแตกหักได้ง่าย
https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEgFqDJTtJQa0rz0NoeqMhGTY4V-7ee4tVq707dTMPtae8bO4ZlHoEII2bBBanQRfQfC1eTSJnim0hDh8rHkpb9eVeNVa_uNfGP0JtvDO0YCFsNHsCbbYEnpklhLq28MEWcuU6uxChHOEO_I/s1600/1.jpg
 ขอบคุณ https://www.google.co.th/